STD House ช่างต่อเติมห้องกระจก ราคาถูก รับประกันคุณภาพทั่วจังหวัด
รับติดตั้ง ซ่อมแซม ออกแบบงานช่างกระจก ทุกรูปแบบ ศูนย์รวมสินค้างานช่างกระจก ดำเนินงานโดยทีมวิศวะกรและช่างมืออาชีพประสบการณ์สูง ออกแบบให้คำแนะนำงาน เหล็กดัด กระจก ประตู หน้าต่าง มุ้งลวด รวมถึงดูแล ซ่อมแซม ประเมินราคา ตามงบประมาณ รับประกันงานติดตั้ง ทุกพื้นที่ ทั่วจังหวัด ทั่วประเทศ ในราคาถูกที่เป็นกันเอง ช่างต่อเติมห้องกระจก
รู้จักเรา STD House ช่างกระจก
- ทีมช่างมีประสบการณ์ตรงด้านงานช่างกระจกมากกว่า 20 ปี
- เดินทางวัดหน้างานฟรีทั่วจังหวัด เพื่อให้ลูกค้าได้รับ งานที่ตรงความต้องการก่อนตัดสินใจ
- รับซ่อมแซมงานช่างกระจก
- ใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีคุณภาพสูง มีความแข็งแรง ทนทาน
- ราคาถูก รับประกันคุณภาพ พร้อมการบริการหลังการขาย
- บริการคุณภาพด้วย STD House ช่างต่อเติมห้องกระจก
พร้อมรับงานทุกขนาด งานบ้านทั่วไป งานโครงการ งานรับเหมา และอื่นๆ
สนใจงานช่างต่อเติมห้องกระจก ต้องที่ STD House ช่างต่อเติมห้องกระจก เท่านั้น
ช่างต่อเติมห้องกระจก
กระจก ทำมาจากทราย จริง หรือ ไม่
ด้วยเหตุนี้ จึงมักเชื่อกันว่ากระจกหรือแก้วต่างๆทำมาจากเม็ดทรายแต่ทว่าการนำ ซิลิกา ที่มีอยู่ในเม็ดทรายมาทำเป็นแก้วหรือกระจกนั้นไม่สามารถใช้ไฟหรือความร้อนในระดับธรรมดามาหลอมละลายให้ซิลิกากลายเป็นกระจกได้ จะต้องใช้ความร้อนสูงเป็นพิเศษในการหล่อหลอม เนื่องจาก ซิลิกาเป็นแร่ธาตุที่มี คาสิโนแกร่ง จึงมีจุดหลอมเหลวสูงมาก การจะทำให้ซิลิกาถึงจุดหลอมเหลวได้จึงไม่ใช่เรื่องง่าย ดังนั้น จึงมีผู้คิดค้นวิธีที่จะทำให้ซิลิกาอ่อนตัวลงก่อนที่จะนำไปหลอมด้วยความร้อน นั่น คือ การใช้
ด้วยความก้าวหน้าของโลกยุคนี้ทำให้เรามีวัสดุหลายหลายให้หยิบใช้รอบตัว แต่มีวัสดุหนึ่งที่ข้างกายเรา แต่เรามักมองข้ามมันไป นั่นก็คือ กระจก
แม้มันจะดูโปร่งใสไร้ตัวตน แต่กระจกมีบทบาทอย่างยิ่งต่อสังคมมนุษย์ โดยเฉพาะโลกของวิทยาศาสตร์ ลองคิดจินตนาการถึงห้องทดลองวิทยาศาสตร์ที่ไม่มีกระจก เราจะพบว่าแทบเป็นไปไม่ได้เลยทีเดียว และหากไม่มีกระจกแล้วโลกเราคงล้าหลังไปมากกว่านี้มาก
เพราะไม่ว่าแว่นตา แว่นขยาย หลอดไฟของเอดิสัน หลอดภาพของโทรทัศน์ กล้องจุลทรรศน์ที่ใช้ศึกษาสิ่งมีชีวิตขนาดเล็ก หรือกล้องส่องทางไกลเพื่อการศึกษาสิ่งไกลโพ้นอย่างดวงจันทร์และดวงดาว ก็ไม่มีทางเกิดขึ้นได้เลย กระจกจึงปัจจัยสำคัญในการบุกเบิกวิทยาศาสตร์ยุคใหม่ที่ขาดไม่ได้แน่นอนว่าข้าวของเครื่องใช้ รวมถึงยารักษาโรคต่าง ๆ เป็นผลพลอยได้หนึ่งจากการมีกระจก (หากไร้ซึ่งกระจกในกล้องจุลทรรศน์เราคงยากจะรู้จักเชื้อโรคและเซลล์ต่าง ๆ)
ที่จริงอารยธรรมของมนุษย์รู้จักการใช้ลูกปัดแก้วซึ่งเป็นวัสดุเดียวกับกระจกมานานนับพันปี หลักฐานทางโบราณคดีพบว่า อารยธรรมอียิปต์และกรีกรู้จักการทำแก้วมากว่า 3,000 ปีแล้ว ส่วนจีนจะช้ากว่าคือเพิ่งรู้จักแก้วเมื่อ 2,500 ปีที่แล้ว ซึ่งเชื่อว่าได้รับ Knowhow อียิปต์และกรีกที่ค่อยๆ ส่งต่อกันมา
แต่แก้วยุคแรกช่างห่างไกลกับแก้วและกระจกในทุกวันนี้ ความรู้รอบตัวที่ว่าแก้วและกระจกเกิดจากทราย (ซิลิกา) ที่ถูกหลอมแล้วทำให้เย็นตัวลงนั้น เป็นเพียงความรู้เบื้องต้น แก้วที่หลอมจากทรายโดยตรงเพียว ๆ จะมีความขุ่น เขียว ไม่ใสสวยงาม และอาจมีสิ่งเจือปนอยู่มากมาย แก้วหรือกระจกใสจะเกิดขึ้นได้ จึงเกิดจากการศึกษาสูตรเฉพาะและเทคนิคมากมาย ไม่ว่าสารที่ต้องใส่เพิ่มลงไปเพื่อความใส ไล่ฟองอากาศ หรือเทคนิควิธีการหลอมแก้วให้ออกมาเป็นแผ่นเรียบหรือเป่าให้เป็นภาชนะกลวงล้วนต้องค่อย ๆ คิด ค่อย ๆ ทดลองต่อเนื่องกันมา
อารยธรรมโรมันในคริสต์ศตวรรษที่ 1 เป็นอารยธรรมแรกๆ ที่ริเริ่มทดลองสูตรการผลิตแก้วอย่างเป็นชิ้นเป็นอัน และเป็นอารยธรรมแรกที่คิดค้นวิธีการเป่าแก้วขึ้น แล้วแก้วก็ถูกพัฒนาเรื่อยมาจนถึงยุคกลาง แก้วถูกทำเป็นแผ่นบางและถูกใช้เป็นกระจกประดับหน้าต่างในโบสถ์ยุโรป แต่กระจกยุคนั้นยังไม่สามารถผลิตเป็นแผ่นใหญ่ได้ ชาวยุโรปยุคนั้นจึงใช้กระจกแผ่นเล็กๆ เชื่อมต่อกันด้วยตะกั่ว และด้วยข้อจำกัดนี้บวกกับหัวคิดทางศิลปะ ก็กลายเป็นหน้าต่างกระจกประดับสีสันที่เรารู้จักกันในนาม Stained Glass เนื่องจากเป็นกระจกที่มีสีสัน ไม่สามารถมองเห็นออกภายนอกอาคารได้ กระจกในยุคนั้นจึงไม่ได้อยู่ในฐานะช่องแสงหรือหน้าต่าง แต่อยู่ในฐานะผนังที่ส่องแสงได้
และแล้วในคริสต์ศตวรรษที่ 12 -13 เทคนิคการผลิตกระจกใส เรียบ และแผ่นใหญ่ก็เริ่มถูกพัฒนาขึ้น และหลังจากนั้นเป็นต้นมา กระจกก็มีความหมายว่าเป็นความโปร่งใส (หน้าต่างกระจก) การขยายวิสัยทัศน์ (เลนส์) หรือการสะท้อนตัวตน (กระจกเงา)
จนมาถึงยุคใกล้ กระจกก็ถูกพัฒนาไปอีกมากมาย ไม่ว่าจะเป็นกระจกสำหรับงานก่อสร้าง กระจกนิรภัย กระจกสำหรับเครื่องมือเครื่องใช้ในชีวิตประจำวัน หรือกระจกสำหรับเทคโนโลยีชั้นสูง
จะเห็นได้ว่าวัสดุพื้นฐานที่อยู่ข้างกายเราที่เรามองไม่ค่อยเห็นเช่นแก้วหรือกระจกนั้น มีบทบาทที่สำคัญต่ออารยธรรมมนุษย์อย่างยิ่ง และกว่าจะเป็นกระจกที่มีคุณค่าและความหมายอย่างในทุกวันนี้ได้ต้องผ่านขั้นตอนการพัฒนามากมายหลายร้อยปี
เมื่อรู้ที่มาและความสำคัญของกระจกแล้ว หวังว่าเมื่อท่านมองไปที่หน้าต่างครั้งต่อไป ท่านคงจะมีจังหวะเล็กๆ ที่จะไม่มองข้ามความสำคัญของกระจกที่มีต่อสังคมมนุษย์นับพันปี
ในยุคสมัยปัจจุบัน การใช้วัสดุโปร่งแสงและวัสดุโปร่งใสได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก ทั้งในด้านการออกแบบ และการใช้กับบ้านที่อยู่อาศัย เราจึงอยากแนะนำวัสดุที่เรียกว่า “กระจก” (glass) หมายถึง วัสดุที่ทำมาจากแก้ว ซึ่งสามารถหลอมและนำไปขึ้นเป็นรูปต่างๆได้ เมื่อเย็นตัวลงแล้ว จะมีสถานะเป็นของแข็งที่มีลักษณะโปร่งใส ไม่ตกผลึก นิยมใช้ตกแต่งภายในอาคารเพื่อความสวยงาม และทำให้เพิ่มความสว่างไสวให้กับอาคารซึ่งนิยมใช้กับ งานอุตสาหกรรม ยานยนต์ ที่อยู่อาศัยและมีการใช้งานทั่วไปอย่างกว้างขวาง
ก่อนที่จะพัฒนามาเป็นกระจกนั้น มนุษย์ได้ค้นพบวัสดุที่เรียกว่า “แก้ว” จากการบังเอิญนำแผ่นเนตรอนมาใช้แทนภาชนะในการประกอบอาหาร เมื่อเนตรอนถูกความร้อนก็ละลายลงไปหลอมกับทรายบนพื้น จึงทำให้เกิดเป็นน้ำแก้ว มีสถานะเป็นของเหลวที่มีลักษณะใส และเมื่อน้ำแก้วเย็นตัวลงก็กลายเป็นวัสดุที่มีสถานะเป็นของแข็งและมีลักษณะใส อย่างที่เราเรียกว่า “แก้ว” ในปัจจุบันนั่นเอง เมื่อนำแก้วมาหลอมแล้วขึ้นรูปเป็นแผ่นแบนราบ มีความหนา ก็จะเรียกแก้วนั้นว่า “กระจก”
ส่วนประกอบของกระจก
วัตถุดิบในการผสมกระจกมีดังนี้ ทรายแก้ว หินฟันม้า หินโดโลไมต์ เศษกระจก ซึ่งเป็นส่วนประกอบ 80% ในการผลิตกระจก โดยวัสดุเหล่านี้สามารถหาได้และมีแหล่งผลิตอยู่ในประเทศไทย แต่มีวัสดุอื่นๆ เช่น โซดาแอช ผงคาร์บอน ผงเหล็ก และโซเดียมซัลเฟต ที่ต้องนำเข้าจากต่างประเทศ นอกจากนี้ยังมี ออกไซต์ ชนิดต่างๆ ที่นำมาใช้ในการผสมกระจก เพื่อให้เกิดกระจกสีสันต่างๆ
ขั้นตอนการผลิตกระจก
การผลิตกระจกเริ่มจากการนำส่วนประกอบต่างๆ มาผสมกันตามอัตราส่วนที่กำหนดไว้ และนำเข้าเตาที่ตั้งอุณหภูมิ 1,500 องศาเซลเซียส โดยใช้เชื้อเพลิงจากน้ำมันเตา เพื่อให้ส่วนผสมต่างๆ หลอมละลายเข้าด้วยกัน จะได้แก้วออกมาในสถานะของเหลว แล้วจึงปรับอุณหภูมิลงมาที่ 1,100 องศาเซลเซียส แก้วจะค่อยๆ หนืดขึ้น จนสามารถนำไปขึ้นรูปได้ แล้วจึงปล่อยน้ำแก้วให้ไหลลงสู่อ่างโลหะ โดยในอ่างนี้จะบรรจุโลหะดีบุกหลอมเหลวซึ่งมีคุณสมบัติหนักกว่าน้ำแก้ว น้ำแก้วจะลอยตัวอยู่บนโลหะหลอมเหลว โดยที่ไม่มีการทำปฏิกิริยาทางเคมีกัน
หลังจากนั้นน้ำแก้วก็จะถูกดึงให้ไหลไปข้างหน้าภายใต้อุณหภูมิและความดันที่ได้มีการควบคุมความหนักของโลหะหลอมเหลวรวมกับความหนักของน้ำแก้ว จะทำให้น้ำแก้วไหลไปเป็นสายเรียบคล้ายริบบิ้นและมีความหนาสม่ำเสมอทั้ง 2 ด้านของน้ำแก้ว สายกระจกแผ่นจะค่อย ๆ ถูกทำให้เย็นลงขณะที่ไหลมาทางปลายของอ่างโลหะและเคลื่อนเข้าส่วนที่ลดอุณหภูมิ ซึ่งจะทำให้กระจกเย็นตัวลงอย่างช้า ๆ แล้วจึงเป่าให้แห้ง และเข้าสู่เครื่องตัดให้ได้ตามขนาดกระจกที่ต้องการ
กระจกกั้นห้องน้ำ
ในระยะหลัง ได้มีการนำกระจกมาใช้ในงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับบ้านมากมาย แต่ครั้งนี้ จะขอพูดถึงการใช้งานกระจกในห้องน้ำ ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้เป็นตัวฉากกั้นอาบน้ำหรือกระจกชาวเวอร์ ระหว่างพื้นที่อาบน้ำกับพื้นที่ส่วนที่เหลือของห้องน้ำ โดยกระจกกั้นห้องน้ำมีหลายรูปแบบ ในการติดตั้งกระจกกั้นอาบน้ำ ควรคำนึงถึงความต้องการของผู้ใช้ และพื้นที่ในการติดตั้งเป็นหลัก โดยรูปแบบของกระจกกั้นห้องน้ำมีดังนี้
- กระจกกั้นห้องน้ำแบบบานเปลือย มีความคงทนสูง ลักษณะดูโปร่ง สวยงาม ไม่อึดอัด สามารถติดตั้งได้ทุกขนาดความกว้าง โดยปกติแล้วจะเป็นประตูแบบดันเข้า-ออก สามารถทำความสะอาดได้ง่ายกว่ากระจกกั้นห้องน้ำแบบบานเลื่อน
- ฉากกั้นห้องน้ำแบบบานเลื่อน ใช้งานโดยการเลื่อนเปิด-ปิด มีกรอบของบานประตู แม้จะดูโปร่งไม่เท่ากระจกกั้นห้องน้ำแบบบานเปลือย แต่ก็ดูสวยงามไม่แพ้กัน
- กระจกบานตาย ซึ่งไม่สามารถเคลื่อนย้ายกระจกเพื่อเปิดปิดได้
ทำไมกระจกกั้นห้องน้ำถึงเป็นที่นิยม?
ในปัจจุบันกระจกกั้นห้องน้ำได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย เพราะนอกจากจะมีหน้าที่ แยกส่วนพื้นที่แห้งและพื้นที่เปียกในห้องน้ำแล้ว ยังสามารถประหยัดเนื้อที่ในห้องน้ำ ช่วยเรื่องดีไซน์สำหรับห้องน้ำที่มีพื้นที่น้อย ทำให้ห้องน้ำดูโล่งโปร่ง และกว้างขึ้น และยังเพิ่มความสวยงามให้แก่ห้องน้ำอีกด้วย
ปรึกษาเจ้ไก่การช่าง
ช่างต่อเติมห้องกระจก ถนนสี่พระยา