ช่างเข็มเจาะ ตรัง
4 ข้อควรรู้ก่อนใช้บริการ เสาเข็มเจาะ เสาเข็มตอก มีอะไรบ้างมาดูกัน
1.เสาเข็มเจาะ คืออะไร
การก่อสร้างอาคารและสถานที่ในปัจจุบันนี้ เสาเข็มถือว่าเข้ามามีบทบาทสำคัญกับงานก่อสร้างทุกรูปแบบ ด้วยความแข็งแรงและได้มาตรฐานของอาคารสถานที่ที่เพิ่มมากขึ้น ทำให้ผู้รับเหมาบางรายและเจ้าของบ้านเลือกที่จะลงเสาเข็มเพื่อเสริมความแข็งแรงของอาคารและบ้านเรือนตน ซึ่งเสาเข็มมีหลายประเภท แต่ประเภทหนึ่งที่ได้รับความนิยมคงต้องยกให้ เสาเข็มแบบเจาะ
เสาเข็มเจาะ คืออะไร
เสาเข็มเจาะ เป็นเสาเข็มที่นิยมใช้งานในบริเวณที่มีพื้นที่จำกัดหรืออยู่ในบริเวณที่มีบ้านเรือนติดกันเป็นจำนวนมาก โดยรูปแบบของการขุดเจาะนั้นจะเจาะลงไปในดินและเอาดินออกจนถึงระดับที่ต้องการ ตามด้วยการใส่โครงเหล็ก จากนั้นเทคอนกรีตลงไปในหลุมที่ขุดเจาะเพื่อขึ้นรูปเป็นเสาเข็ม ซึ่งวิธีการนี้จะไม่ส่งผลกระทบต่ออาคารบ้านเรือนที่อยู่ใกล้กับบริเวณที่มีการก่อสร้าง แตกต่างจากเสาเข็มแบบตอก ที่ต้องใช้เครื่องตอกเสาเข็มลงไปในดิน เกิดการสั่นสะเทือนและเกิดเสียดังเป็นบริเวณกว้าง
ในปัจจุบันเสาเข็มแบบเจาะมีให้เลือกหลาหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเสาเข็มเจาะระบบแห้ง เสาเข็มเจาะระบบเปียก เสาเข็มเจาะแบบไมโครไพล์และเสาเข็มเจาะแบบพิเศษ ซึ่งแต่ละรูปแบบนั้นจะมีขั้นตอนในการขุดเจาะและการลงเสาเข็มที่แตกต่างกัน โดยส่วนใหญ่แล้วเจ้าของอาคารอาจเป็นผู้เลือกหรือผู้รับเหมาเป็นผู้เลือกให้ตามความเหมาะสม ซึ่งข้อเสียของเสาเข็มแบบเจาะนั้นคงเป็นเรื่องของราคาที่แพงกว่าเสาเข็มแบบตอกพอสมควร แต่หากให้เปรียบเทียบกันในเรื่องของข้อดี ก็คงต้องยกให้เสาเข็มแบบเจาะที่มีข้อดีมากกว่าหลายประการเช่นกัน…
2.วิธีการคำนวณการรับน้ำหนักของเสาเข็มเจาะ
ปริมาณเสาเข็มจะขึ้นอยู่กับการรับน้ำหนักทั้งหมด โดยสามารถให้ผู้ออกแบบกำหนดให้ ส่วนระยะห่างของการเจาะเสาเข็มกับผนังอาคาร หากเราต้องการเจาะเสาเข็มเจาะ ใกล้กับผนังอาคาร หรือ รั้ว ระยะห่างของเสาเข็มที่น้อยที่สุด โดยปกติแล้วหากเสามีขนาด 35 ต้องห่างอย่างน้อย 70-80 ซม. และหากเสามีขนาด 50 ต้องห่างอย่างน้อย 90-100 ซม. ส่วนการออกแบบระยะและขนาดของ เสาเข็มเจาะ ต้องมีการคำนวณจากวิศวกรหรือผู้ออกแบบที่มีความชำนาญและต้องคำนึงถึงการรับน้ำหนักและแบบของสิ่งปลูกสร้าง ดังนั้นระยะห่างของเสาเข็มอาจเท่ากันหรือไม่เท่ากันก็ได้ ขึ้นอยู่กับการออกแบบขนาดของเสาเข็ม และการรับน้ำหนัก
ทั้งนี้โดยทั่วไปแล้วขนาดของเสาเข็มเจาะมาตรฐานที่มีให้บริการมี 4 ขนาดคือ เส้นผ่าศูนย์กลาง 35 เซนติเมตร, เส้นผ่าศูนย์กลาง 40 เซนติเมตร, เส้นผ่าศูนย์กลาง 50 เซนติเมตร และเส้นผ่าศูนย์ลาง 60 เซนติเมตร
• ความลึกของเข็มในตารางขึ้นอยู่กับลักษณะกายภาพของดินในบริเวณนั้นๆ
• การรับน้ำหนักปลอดภัยของเสาเข็มเป็นการ ประมาณจาก สภาพดิน ทั่วไปในบริเวณกรุงเทพฯ
• การรับน้ำหนักปลอดภัยของเสาเข็มเป็นค่าประมาณ (คำนวณมาจากเงื่อนไขของ กำลังอัดคอนกรีตที่อายุ 28 วัน(Fc’) ที่ 175 ksc, เหล็กเสริม ขนาด DB 12 mm. SD40 + เหล็กปลอกเกลียว ขนาด RB6 mm. @ 0.25 SD24)
สรุปคือการรับน้ำหนักของเสาเข็มเจาะ จะต้องให้วิศวกรผู้เชี่ยวชาญเป็นคนคำนวณหรือประเมินค่าอีกครั้ง เพราะบ้านหรืออาคารที่ก่อสร้างต้องคำนึงถึงความปลอดภัยมาเป็นอันดับหนึ่ง
3.เสาเข็มเจาะเสาเข็มตอก ต่างกันอย่างไร
เราสามารถแบ่งประเภทของเสาเข็มออกได้เป็น 2 ประเภท นั่นคือเสาเข็มเจาะและเสาเข็มตอก เสาเข็มทั้งสองชนิดนี้มีการเลือกใช้งานที่แตกต่างกัน ลองมาดูกันดีกว่าแตกต่างกันอย่างไร
มาเริ่มกันที่เสาเข็มเจาะ ความหมายที่เห็นชัดคือการเจาะ เพราะฉะนั้นเสาเข็มเจาะ คือ การเจาะดินลงไปก่อน แล้วหย่อนแม่แบบเหล็กลงไปแล้วจึงเทคอนกรีตตามลงไป สำหรับเสาเข็มเจาะแบบแห้ง เป็นระบบเสาเข็มเจาะขนาดเล็ก ส่วนใหญ่จะลึกไม่เกิน 20 เมตร วิธีการก็คือเจาะดินลงไป (แบบแห้งๆ) แล้วก็หย่อนเหล็กเทคอนกรีตลงไปในหลุม ราคาจะแพงกว่าระบบเข็มตอก แต่เกิดมลภาวะน้อยกว่า ส่วนเสาเข็มเจาะแบบเปียก ทำเหมือนเสาเข็มเจาะแห้ง แต่เวลาขุดดินจะขุดลึก ๆ แล้วใส่ สารเคมี ลงไปเคลือบผิวหลุมดินที่เจาะให้ทำหน้าที่เป็นตัวยึดประสานดิน และกันดินไม่ให้ พังทลายลงเวลาเจาะลึก ๆ (ซึ่งสามารถเจาะได้ลึกกว่า 70 เมตร ) รับน้ำหนักได้มาก และเกิด มลภาวะน้อย แต่ราคาแพง เข็มเจาะจะมีราคาสูงกว่าเข็มตอก แต่จะทำให้ไม่เกิดแรงสั่น สะเทือน
ส่วนเสาเข็มตอก คำว่าตอก คือใช้กำลังตอกลงไป อาจใช้กำลังคน หรือเครื่องจักรก็ได้ มีทั้งเสาเข็มแบบตันและแบบกลวง ถ้าเป็นเสาเข็มกลมกลวง สามารถรับแรงได้มากกว่าเสาเข็มแบบ เวลาตอกส่วนใหญ่จะขุดเป็นหลุมก่อนแล้วกดเสาเข็มลงไป พอถึงระดับที่ต้องการจึงจะเริ่มตอก
เสาเข็มเจาะและเสาเข็มตอกจึงแตกต่างกันที่วิธีการ ขนาด และก็ผลต่อสิ่งแวดล้อม ตลอดรวมไปจนถึงเรื่องของราคา เสาเข็มเจาะคือการเจาะดินลงไปก่อนแล้วจึงหย่อนเสาลงไป ราคาแพง แต่กระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่า คุณภาพอาจไม่ทนทานเท่าเสาเข็มตอก ส่วนเสาเข็มตอกนั้นไม่ต้องเจาะดินก่อน แต่ใช้กำลังคนหรือเครื่องจักรตอก ราคาถูกว่าเสาเข็มเจาะ ทนทานมากกว่าเสาเข็มเจาะ แต่การขนย้ายอุปกรณ์ค่อนข้างลำบาก และที่สำคัญคือมีเสียงน่ารำคาญกระทบต่อบริเวณใกล้เคียงเป็นอย่างมาก
4.เสาเข็มมีกี่ประเภท
เสาเข็มโดยทั่วไปแยกสำคัญ 2 ประเภทกว้างๆ คือ เสาเข็มตอก และ เสาเข็ม โดยเสาเข็มตอก และเสาเข็มเจาะยังสามารถแยกย่อยและลงรายละเอียดตามลักษณะสำคัญๆ ของเสาเข็มดังต่อไปนี้
เสาเข็มตอก
เสาเข็มตอกมีหลายชนิดที่ใช้กันอยู่ได้แก่
• เสาเข็มไม้ ซึ่งใช้กันมานาน แต่ในปัจจุบันเสาเข็มไม้ที่ดีมีคุณภาพหายากและมีราคาแพง
• เสาเข็มเหล็ก ที่ใช้ส่วนใหญ่มักจะเป็นเสาเข็มเหล็กรูปตัว H เพราะสามารถทำการตอกลงดินได้ง่าย และรับน้ำหนักบรรทุกได้ดี
• เสาเข็มคอนกรีตอัดแรงหล่อสำเร็จ ซึ่งเป็นที่นิยมในปัจจุบัน
• เสาเข็มกลมแรงเหวี่ยงอัดแรง หรือที่เรียกว่าเสาเข็มสปัน เป็นเสาเข็มที่ใช้กรรมวิธีการปั่นคอนกรีตในแบบหล่อซึ่งหมุนด้วยความเร็วสูง จึงมีความแข็งแกร่งสูง รับน้ำหนักได้มาก
เสาเข็มเจาะ
เหมาะกับการใช้งานในพื้นที่จำกัด ได้แก่
• เสาเข็มเจาะระบบแห้ง เป็นระบบเสาเข็มเจาะขนาดเล็ก ส่วนใหญ่จะลึกไม่เกิน 20 ม. เสาเข็มเจาะประเภทนี้มีหน้าตัดเป็นวงกลม เส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 60 ซม.
• เสาเข็มเจาะระบบเปียก ทำเหมือนเสาเข็มเจาะแห้ง แต่เวลาขุดดินจะขุดลึกๆ แล้วใส่สารเคมี เช่น Bentonite ลงไปเคลือบผิวหลุมดินที่เจาะ ทำหน้าที่เป็นตัวยึดประสานดินและกันดินไม่ให้พังทลายลงเวลาเจาะลึกๆ
• เสาเข็มเจาะแบบ ไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มเจาะขนาดเล็ก เส้นผ่านศูนย์กลางไม่เกิน 25 ซม. ใช้มากในงานซ่อมแซมอาคารหรือต่อเติมบริเวณที่มีพื้นที่ในการทำงานน้อยๆ
• เสาเข็มเจาะแบบพิเศษ เป็นส่วนหนึ่งของเสาเข็มระบบเปียกแต่จะมีหน้าตัด รูปแบบต่างๆ แตกต่างกันออกไป เช่น หน้าตัดรูปตัว H รูปตัว T หรือเป็นรูปเครื่องหมายบวก
std-serves รับเสาเข็มเจาะ ราคาถูก รับประกันคุณภาพทั่วจังหวัด
รับเสาเข็มเจาะ ซ่อมแซม ออกเสาเข็มเจาะ ทุกรูปแบบ เสาเข็มเจาะ ให้ปลอดภัยโดยทีมช่างมืออาชีพประสบการณ์สูง ออกแบบให้คำแนะนำ เสาเข็มเจาะ ให้ปลอดภัย เสาเข็มโดยทั่วไปแยกสำคัญ 2 ประเภทกว้างๆ คือ เสาเข็มตอก และ เสาเข็มเจาะ รับเสาเข็มเจาะ ดูแล ซ่อมแซม ประเมินราคา ตามงบประมาณ รับประกันงานติดตั้ง ทุกพื้นที่ ทั่วจังหวัด ในราคาถูกที่เป็นกันเอง
รู้จักเรา std-serves รับเสาเข็มเจาะ อย่างไรให้ปลอดภัย
- ทีมช่างรับเสาเข็มเจาะ ซ่อมแซม ออกแบบเสาเข็มเจาะ ทุกรูปแบบ มากกว่า 20 ปี
- เดินทางวัดหน้างานฟรีทั่วจังหวัด เพื่อให้ลูกค้าได้รับ งานที่ตรงความต้องการก่อนตัดสินใจ
- ช่างรับเสาเข็มเจาะ โดยทีมช่างมืออาชีพประสบการณ์สูง
- ใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีคุณภาพสูง มีความแข็งแรง ทนทาน
- ราคาถูก รับประกันคุณภาพ พร้อมการบริการหลังการขาย
- บริการคุณภาพด้วย std-serves รับเสาเข็มเจาะ อย่างไรให้ปลอดภัย
พร้อมรับงานทุกขนาด งานบ้านทั่วไป งานโครงการ งานรับเหมา และอื่นๆ สนใจบริการรับเสาเข็มเจาะ อย่างไรให้ปลอดภัย
ต้องที่ std-serves ช่างรับเสาเข็มเจาะ เท่านั้น
ช่างเข็มเจาะ หาดสำราญ
ช่างเข็มเจาะ ตะเสะ
ช่างเข็มเจาะ บ้าหวี
ช่างเข็มเจาะ หาดสำราญ
ช่างเข็มเจาะ กันตัง
ช่างเข็มเจาะ กันตัง
ช่างเข็มเจาะ กันตังใต้
ช่างเข็มเจาะ คลองชีล้อม
ช่างเข็มเจาะ คลองลุ
ช่างเข็มเจาะ ควนธานี
ช่างเข็มเจาะ นาเกลือ
ช่างเข็มเจาะ บางสัก
ช่างเข็มเจาะ บางหมาก
ช่างเข็มเจาะ บางเป้า
ช่างเข็มเจาะ บ่อน้ำร้อน
ช่างเข็มเจาะ ย่านซื่อ
ช่างเข็มเจาะ วังวน
ช่างเข็มเจาะ เกาะลิบง
ช่างเข็มเจาะ โคกยาง
ช่างเข็มเจาะ นาโยง
ช่างเข็มเจาะ ช่อง
ช่างเข็มเจาะ นาข้าวเสีย
ช่างเข็มเจาะ นาหมื่นศรี
ช่างเข็มเจาะ นาโยงเหนือ
ช่างเข็มเจาะ ละมอ
ช่างเข็มเจาะ โคกสะบ้า
ช่างเข็มเจาะ ปะเหลียน
ช่างเข็มเจาะ ทุ่งยาว
ช่างเข็มเจาะ ท่าข้าม
ช่างเข็มเจาะ ท่าพญา
ช่างเข็มเจาะ บางด้วน
ช่างเข็มเจาะ บ้านนา
ช่างเข็มเจาะ ปะเหลียน
ช่างเข็มเจาะ ลิพัง
ช่างเข็มเจาะ สุโสะ
ช่างเข็มเจาะ เกาะสุกร
ช่างเข็มเจาะ แหลมสอม
ช่างเข็มเจาะ ย่านตาขาว
ช่างเข็มเจาะ ทุ่งกระบือ
ช่างเข็มเจาะ ทุ่งค่าย
ช่างเข็มเจาะ นาชุมเห็ด
ช่างเข็มเจาะ ย่านตาขาว
ช่างเข็มเจาะ หนองบ่อ
ช่างเข็มเจาะ เกาะเปียะ
ช่างเข็มเจาะ โพรงจรเข้
ช่างเข็มเจาะ ในควน
ช่างเข็มเจาะ รัษฎา
ช่างเข็มเจาะ คลองปาง
ช่างเข็มเจาะ ควนเมา
ช่างเข็มเจาะ หนองบัว
ช่างเข็มเจาะ หนองปรือ
ช่างเข็มเจาะ เขาไพร
ช่างเข็มเจาะ วังวิเศษ
ช่างเข็มเจาะ ท่าสะบ้า
ช่างเข็มเจาะ วังมะปราง
ช่างเข็มเจาะ วังมะปรางเหนือ
ช่างเข็มเจาะ อ่าวตง
ช่างเข็มเจาะ เขาวิเศษ
ช่างเข็มเจาะ สิเกา
ช่างเข็มเจาะ กะลาเส
ช่างเข็มเจาะ นาเมืองเพชร
ช่างเข็มเจาะ บ่อหิน
ช่างเข็มเจาะ เขาไม้แก้ว
ช่างเข็มเจาะ ไม้ฝาด
ช่างเข็มเจาะ ห้วยยอด
ช่างเข็มเจาะ ทุ่งต่อ
ช่างเข็มเจาะ ท่างิ้ว
ช่างเข็มเจาะ นาวง
ช่างเข็มเจาะ บางกุ้ง
ช่างเข็มเจาะ บางดี
ช่างเข็มเจาะ ปากคม
ช่างเข็มเจาะ ปากแจ่ม
ช่างเข็มเจาะ ลำภูรา
ช่างเข็มเจาะ วังคีรี
ช่างเข็มเจาะ หนองช้างแล่น
ช่างเข็มเจาะ ห้วยนาง
ช่างเข็มเจาะ ห้วยยอด
ช่างเข็มเจาะ เขากอบ
ช่างเข็มเจาะ เขาขาว
ช่างเข็มเจาะ เขาปูน
ช่างเข็มเจาะ ในเตา
ช่างเข็มเจาะ เมืองตรัง
ช่างเข็มเจาะ ควนปริง
ช่างเข็มเจาะ ทับเที่ยง
ช่างเข็มเจาะ นาตาล่วง
ช่างเข็มเจาะ นาท่ามเหนือ
ช่างเข็มเจาะ นาท่ามใต้
ช่างเข็มเจาะ นาบินหลา
ช่างเข็มเจาะ นาพละ
ช่างเข็มเจาะ นาโต๊ะหมิง
ช่างเข็มเจาะ นาโยงใต้
ช่างเข็มเจาะ น้ำผุด
ช่างเข็มเจาะ บางรัก
ช่างเข็มเจาะ บ้านควน
ช่างเข็มเจาะ บ้านโพธิ์
ช่างเข็มเจาะ หนองตรุด
ช่างเข็มเจาะ โคกหล่อ