ช่างต่อเติมห้องกระจก อำเภอแปลงยาว โทร 093-2757493

หมวดหมู่สินค้า: ช่างต่อเติมห้องกระจก
STD House ช่างต่อเติมห้องกระจก ราคาถูก รับประกันคุณภาพทั่วจังหวัด รับติดตั้ง ซ่อมแซม ออกแบบงานช่างกระจก ทุกรูปแบบ ศูนย์รวมสินค้างานช่างกระจก ดำเนินงานโดยทีมวิศวะกรและช่างมืออาชีพประสบการณ์สูง ออกแบบให้คำแนะนำงาน เหล็กดัด กระจก ประตู หน้าต่าง มุ้งลวด รวมถึงดูแล ซ่อมแซม ประเมินราคา ตามงบประมาณ รับประกันงานติดตั้ง ทุกพื้นที่ ทั่วจังหวัด ทั่วประเทศ ในราคาถูกที่เป็นกันเอง

16 กรกฎาคม 2567

ผู้ชม 19 ผู้ชม

รับต่อเติม ห้องกระจก อำเภอแปลงยาว


ปรึกษาเจ้ไก่การช่าง




STD House ช่างต่อเติมห้องกระจก ราคาถูก รับประกันคุณภาพทั่วจังหวัด
  รับติดตั้ง ซ่อมแซม ออกแบบงานช่างกระจก ทุกรูปแบบ ศูนย์รวมสินค้างานช่างกระจก ดำเนินงานโดยทีมวิศวะกรและช่างมืออาชีพประสบการณ์สูง ออกแบบให้คำแนะนำงาน เหล็กดัด กระจก ประตู หน้าต่าง มุ้งลวด รวมถึงดูแล ซ่อมแซม ประเมินราคา ตามงบประมาณ รับประกันงานติดตั้ง ทุกพื้นที่ ทั่วจังหวัด ทั่วประเทศ ในราคาถูกที่เป็นกันเอง  ช่างต่อเติมห้องกระจก

รู้จักเรา STD House ช่างกระจก
- ทีมช่างมีประสบการณ์ตรงด้านงานช่างกระจกมากกว่า 20 ปี
- เดินทางวัดหน้างานฟรีทั่วจังหวัด เพื่อให้ลูกค้าได้รับ งานที่ตรงความต้องการก่อนตัดสินใจ
- รับซ่อมแซมงานช่างกระจก
- ใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีคุณภาพสูง มีความแข็งแรง ทนทาน
- ราคาถูก รับประกันคุณภาพ พร้อมการบริการหลังการขาย
- บริการคุณภาพด้วย STD House ช่างต่อเติมห้องกระจก

พร้อมรับงานทุกขนาด งานบ้านทั่วไป งานโครงการ งานรับเหมา และอื่นๆ
สนใจงานช่างต่อเติมห้องกระจก ต้องที่ STD House ช่างต่อเติมห้องกระจก เท่านั้น


รับต่อเติม ห้องกระจก


แก้ว หมายถึง
 วัสดุแข็งที่มีรูปลักษณะอยู่ตัว และเป็นเนื้อเดียว โดยปกติแล้วเกิดจากการเย็นตัวลงอย่างฉับพลันของวัสดุหลอมหนืด ซึ่งทำให้การแข็งตัวนั้นไม่ก่อผลึก ตัวอย่างเช่น น้ำตาลซึ่งหลอมละลายและถูกทำให้แข็งตัวอย่างรวดเร็ว อาจด้วยการหยดลงบนผิวเย็น น้ำตาลที่แข็งตัวนี้จะมีลักษณะเป็นเนื้อเดียว ไม่แสดงให้เห็นถึงลักษณะที่เป็นผลึก ซึ่งสามารถสังเกตได้จากรอยแตกหักซึ่งมีลักษณะละเอียด (conchoidal fracture)
แก้วสามารถที่จะเกิดได้หลากหลายวิธี โดยการที่จะเลือกวัตถุดิบจะต้องมีการคำนวณเพื่อหาปริมาณสารที่ต้องการใช้ใน Batch เนื่องจากสารที่ต้องการใช้ใน Batch จะได้มาจากปฏิกิริยาของวัตถุดิบ โดยในระหว่างการหลอมวัตถุดิบ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี และโครงสร้าง โดยจะทำให้เกิดฟองอากาศที่ต้องกำจัดออกไป โดยในผลิตภัณฑ์เชิงพาณิชย์ที่ต้องการการขึ้นรูปทรงที่เฉพาะ จะทำโดยมีการใช้กระบวนการทางความร้อนเข้าช่วย เพื่อกำจัด Stress ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการเย็นตัวลงอย่างรวดเร็ว และการปรับปรุงให้แก้วมีความแข็งแกร่งขึ้นโดยการอบเทมเปอร์ (Temper)
แก้วที่จะกล่าวถึงในบทความนี้ จะหมายถึง เฉพาะแก้วที่ทำจาก ซิลิกา (silica)
เนื้อแก้วบริสุทธิ์นั้นจะโปร่งใส ผิวค่อนข้างแข็ง ยากแก่การกัดกร่อน เฉื่อยต่อปฏิกิริยาทางเคมีและชีวภาพ ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่ทำให้แก้วนั้นมีประโยชน์ใช้งานอย่างกว้างขวาง อย่างไรก็ตามแก้วนั้นถึงแม้จะแข็ง แต่ก็เปราะแตกหักง่าย และมีรอยแตกที่ละเอียดคม คุณสมบัติของแก้วนี้สามารถเปลี่ยนแปลงได้ง่ายด้วยการผสมสารอื่นลงในเนื้อแก้ว หรือการปรับสภาพด้วยการใช้ความร้อน
แก้วโดยทั่วไปนั้นทำจากซิลิกอนไดออกไซด์ (SiO2-silicon dioxide) ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสารประกอบทางเคมีในแร่ควอตซ์ (quartz) หรือในรูป polycrystalline ของทราย ซิลิกาบริสุทธิ์มีจุดหลอมเหลวที่ 2000 °C (3632 °F) เพื่อความสะดวกในกระบวนการผลิต จะมีการผสมสาร 2 ชนิดลงไปด้วย ชนิดแรกคือโซดาแอช (Soda Ash) ซึ่งมีองค์ประกอบหลักคือ โซเดียมคาร์บอเนต (sodium carbonate-Na2CO3) หรือสารประกอบโพแทสเซียม เช่น โพแทสเซียมคาร์บอเนต เพื่อช่วยให้อุณหภูมิในการหลอมเหลวนั้นต่ำลงอยู่ที่ประมาณ 1000~1500 °C แต่อย่างไรก็ตามสารนี้จะส่งผลข้างเคียงทำให้แก้วนั้นละลายน้ำได้ จึงต้องมีการเติมสารอีกชนิด คือ หินปูน ซึ่งมีองค์ประกอบหลักคือ แคลเซียมคาร์บอเนต (calcium carbonate-CaCO3) (เมื่ออยู่ในเนื้อแก้ว จะกลายเป็นแคลเซียมออกไซด์; calcium oxide-CaO) เพื่อทำให้แก้วนั้นไม่ละลายน้ำ
องค์ประกอบของแก้วที่ใช้ทำภาชนะใช้งานโดยทั่วไป เช่น แก้วน้ำ หรือกระจกใส จะมีองค์ประกอบแต่ละตัวโดยประมาณดังนี้
    SiO2 70%
    Na2O 15%
    CaO 8%
และองค์ประกอบอื่น ๆ อีกเล็กน้อย เช่น MgO, Al2O3, K2O เป็นต้น
อาจมีแก้วพิเศษชนิดอื่น ซึ่งเกิดจากการเติมวัตถุดิบอื่น ๆ ลงไป เพื่อช่วยปรับคุณสมบัติของแก้ว เช่น
เติมตะกั่ว (จากวัตถุดิบเช่น ลิธาจ; Litharge) และกลายเป็น PbO ในเนื้อแก้ว เพื่อให้แก้วหนักขึ้น เนื้อแก้วหยุ่นเหนียวและแวววาว ซึ่งเรียกโดยทั่วไปว่าแก้วคริสตัล
เติมแบเรียมและสังกะสี (BaO, ZnO) เพื่อช่วยทำให้แก้วมีลักษณะคล้ายแก้วคริสตัลโดยไม่ใช้ตะกั่วเป็นต้น
 
ทุกวันนี้ แก้วมันมีประโยชน์กับเรามากมาย ไม่ว่าจะใช้สำหรับใส่น้ำ กินกาแฟหรือเครื่องดื่มต่างๆ มันสามารถทนความร้อนได้สูงและบางอย่างก็ทนความเย็นได้สูงด้วยเหมือนกัน มันอยู่กับเราในชีวิตประจำวันจนเราแยกกันไม่ออกที่นี้เราจะรู้ได้อย่างไรครับว่าแก้วที่เราใช้อยู่นั้นทำมาจากอะไร อันนี้เราก็ต้องมาดูนะครับว่าแก้วที่เราใช้อยู่นั้นเป็นชนิดไหน ถ้าเป็นชนิดอย่างที่ทำจากพลาสติกนั้นก็ทำมาจากน้ำมันครับ
สวนแก้วใสๆที่เราเห็นอยู่นี้ล่ะครับ มันทำมาจาก** ซิลิก้า** ที่อยู่ในทรายหรือแร่ควอตซ์ นั่นเองครับ
แก้วที่ผลิตจากซิลิกาก็สามารถหาได้ง่ายเลยครับจากทรายโดยกรรมวิธีก็จะมีการผสมผสานกับสารช่วยหลอมละลายเมื่อผสมกับสีเคมีต่างๆแล้ว นำมาหลอมที่อุณหภูมิประมาณ 1600 องศา จนกลายเป็นเนื้อเดียวกัน โดยทั่วไปแล้วหากว่าไม่มีการผสมสารให้สี ก็จะมีลักษณะสีใสโปร่งแสงอย่างที่เราเห็นนั่นหละครับ และในปัจจุบันก็เพราะถือว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีการใช้อย่างกว้างขวาง ทั้งในชีวิตประจำวันของเราเอง ในวงการอุตสาหกรรมการแพทย์ และงานวิจัยต่างๆด้วยแก้วสามารถทนต่อสภาวะแวดล้อมต่างๆได้ดีเช่นอุณหภูมิที่สูงแสงแดดมีความชื้นอะไรแบบนี้เป็นต้น นอกจากนี้ก็ยังสามารถทำความสะอาดได้ง่ายด้วย และไม่มีการปนเปื้อนจากสารเคมีใดๆส่วนทั้งด้านการค้านั้นผลิตภัณฑ์ที่ทำจากแก้วปัจจุบันก็มีการใส่สารให้สีเพื่อให้มันสวยงามเข้าไปในขั้นตอนการผลิต ทำให้เกิดสีสันต่างๆตามต้องการ และก็เป็นการเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ตัวนั้นได้อีกวิธีหนึ่งครับผม
 
วัตถุดิบหลัก (Major Ingredient) จะประกอบด้วย ทรายแก้ว โซดาแอช หินปูน หินฟันม้า และเศษแก้ว
    1.ทรายแก้ว (Glass Sand)  ทรายแก้ว มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Silica Sand [silica (silicon dioxide, or SiO2)] คือ ทรายชนิดหนึ่งที่มีซิลิกา เป็นส่วนประกอบกว่า 99.5% ทรายแก้วเมื่อหลอมจะกลายสภาพเป็นโครงสร้างหลักของเนื้อแก้ว แหล่งทรายแก้วปัจจุบันจะอยู่ที่จังหวัดระยองและชุมพร ทรายแก้วที่นำมาใช้จะแบ่งชนิดการใช้งานเป็น ทรายแก้วขาว ซึ่งมีส่วนผสมของเหล็กอ็อกไซด์ (Fe2O3) ในปริมาณที่น้อย เหมาะจะใช้กับการผลิตแก้วใส ส่วนทรายดำหรือสีชา จะมีเหล็กอ็อกไซด์สูงมากกว่า จึงเหมาะที่จะนำไปผลิตแก้วสีเช่น สีชาหรือสีเขียว เป็นต้น
    
    2.โซดาแอช (Soda Ash)  หรือ ชื่อทางเคมีว่า โซเดียมคาร์บอเนต (Sodium Carbonate) สูตรเคมี คือ Na2CO3 เป็นสารประกอบของเกลือประเภทหนึ่งที่พบในดิน หรือเกิดจากการสังเคราะห์เกลือแกง (Sodium Chloride) มีคุณสมบัติช่วยลดอุณหภูมิในการหลอมเหลว วัตถุดิบชนิดนี้ต้องนำเข้าจากต่างประเทศ เช่น จากแหล่ง Magadi ประเทศ Kenya และ จากประเทศจีนเป็นต้น แก้วที่ใช้โซดาแอช เป็นส่วนผสมจะถูกเรียกว่า แก้วโซดาไลม์
    
    3.หินปูน (Limestone)  หรือ ชื่อทางเคมีว่า Calcium Carbonate สูตรเคมีคือ CaCO3 แหล่งที่พบได้คือจังหวัดสระบุรี ราชบุรี หินปูนมีคุณสมบัติในการเพิ่มความแข็งแรงของเนื้อแก้วและทำให้แก้วมีความทนทานต่อสารเคมี
 
    4.เฟลด์สปาร์ Feldspar หรือหินฟันม้า พบมากในจังหวัดราชบุรี กาญจนบุรี มีคุณสมบัติในการเพิ่มความคงทนของเนื้อแก้ว
 
    5.เศษแก้ว (Cullet) เศษแก้วส่วนใหญ่ในการผลิตจะได้จากโรงแยกเศษแก้วในประเทศ ซึ่งได้จากการรวบรวมบรรจุภัณฑ์แก้วที่ใช้แล้วในภาคการค้าและครัวเรือน แล้วนำมาบดและคัดแยกสิ่งปนเปื้อนที่ไม่ต้องการออก เช่น ฝาโลหะ คออลูมิเนียม ฉลากกระดาษ ขยะ เป็นต้น เศษแก้วจะถูกส่งมาที่โรงงานแก้วโดยแยกตามสี คือ แก้วใส แก้วสีเขียว และแก้วสีชา

ปรึกษาเจ้ไก่การช่าง




 
ช่างต่อเติมห้องกระจก วังเย็น
ช่างต่อเติมห้องกระจก หนองไม้แก่น
ช่างต่อเติมห้องกระจก หัวสำโรง
ช่างต่อเติมห้องกระจก แปลงยาว
 
 
Engine by shopup.com