ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ พัทลุง

STD Serve ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ราคาถูก รับประกันคุณภาพทั่วจังหวัด รับซ่อมแซม ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ทุกรูปแบบ ศูนย์รวมสินค้าช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ โดยทีมช่างมืออาชีพประสบการณ์สูง ออกแบบให้คำแนะนำ ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ เหตุผลในการจ้างช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่มืออาชีพเท่านั้น ประหยัดค่าใช้จ่าย ความปลอดภัย ประสบการณ์ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ดูแล ซ่อมแซม ประเมินราคา ตามงบประมาณ รับประกันงานติดตั้ง ทุกพื้นที่ ทั่วจังหวัด ในราคาถูกที่เป็นกันเอง

19 สิงหาคม 2567

ผู้ชม 28 ผู้ชม

บริการ ซ่อมรถ นอกสถานที่ พัทลุง 

ซ่อมนอกสถานที่ โทร : 085-5522459 › ซ่อมรถด่วน

ติดต่อช่างแอ็ด




รถยนต์รุ่นใหม่ในยุคนี้ แทบทั้งหมดใช้เกียร์อัตโนมัติ จนบางคนลืมไปเลยว่าเคยมีคลัทช์ เด็กรุ่นใหม่ชอบคิดไปว่ารถเกียร์อัตโนมัตินั้น ไม่มีคลัทช์ ! แต่ความจริงแล้ว รถทุกคันล้วนมีคลัทช์ เพื่อตัดต่อกำลังระหว่างเครื่องยนต์กับระบบเกียร์ DIY…คุณทำเองได้ ฉบับนี้ มีวิธีตรวจเชคคลัทช์เบี้องต้นสำหรับรถเกียร์ธรรมดามาฝาก ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่



คลัทช์ คืออะไร ?
คลัทช์ (CLUTCH) เป็นอุปกรณ์ส่วนควบ ที่รถทุกคันจะขาดไม่ได้ ติดตั้งอยู่ระหว่างเครื่องยนต์กับระบบเกียร์ ทำหน้าที่ในการตัดต่อการถ่ายทอดกำลัง จากเครื่องยนต์ไปยังระบบเกียร์ ทำให้เราสามารถเปลี่ยนเกียร์ได้ ในความเร็วต่างๆ   ในรถเกียร์ธรรมดา เราเข้าเกียร์ด้วยการเหยียบคลัทช์ แล้วปล่อยคลัทช์ เพื่อส่งกำลังให้ระบบเกียร์ ทำให้รถเคลื่อนที่ไปได้ในความเร็วต่างๆ   สำหรับรถเกียร์อัตโนมัติก็ต้องอาศัยคลัทช์เช่นกัน เราเรียกว่า คลัทช์แบบอัตโนมัติ (AUTOMATIC CLUTCHES) ทำงานโดยอาศัยความเร็วรอบเครื่องยนต์ เมื่อความเร็วรอบของเครื่องยนต์อยู่ในขณะเดินเบา แผ่นคลัทช์จะถูกเลื่อนออก และเมื่อความเร็วรอบของเครื่องยนต์สูงขึ้น แรงกดของคลัทช์จะกระทำกับแผ่นคลัทช์ ทำให้เกียร์เข้าได้โดยอัตโนมัติ    
วิธีใช้คลัทช์ในรถเกียร์ธรรมดาที่ถูกต้อง  อายุการใช้งานของคลัทช์ เฉลี่ยประมาณ 150,000-200,000 กม. ขึ้นอยู่กับพฤติกรรมการขับ วิธีใช้คลัทช์อย่างถูกต้อง มีดังนี้   • อย่าแช่คลัทช์ คือ เหยียบคลัทช์ค้างไว้แบบครึ่งๆ กลางๆ หรือที่เรียกกันว่า “เลียคลัทช์” ถอนเท้าออกให้สุดทุกครั้ง พฤติกรรมแบบนี้มักเกิดขึ้นในเมือง หรือในที่มีการจราจรแออัด   • อย่ากระชากคลัทช์ การออกรถรุนแรง (ปล่อยคลัทช์เร็วเกินไป) นอกจากจะส่งผลให้คลัทช์สึกหรอเร็วแล้ว ยังทำให้ระบบเกียร์เกิดปัญหาตามไปด้วย ควรปล่อยคลัทช์ให้ถูกจังหวะ และสัมพันธ์กับคันเร่งทุกครั้ง   • อย่าเหยียบคลัทช์โดยเปล่าประโยชน์ เราใช้คลัทช์ก็ต่อเมื่อ ต้องการที่จะเปลี่ยนตำแหน่งของเกียร์ต่างๆ เท่านั้น   • อย่าพักเท้าไว้ที่คลัทช์ ในรถรุ่นใหม่ๆ มักมีที่พักเท้ามาให้ หลายคนมักชอบพักเท้าไว้ที่คลัทช์ เพื่อจะเปลี่ยนเกียร์ได้สะดวก แต่พฤติกรรมแบบนี้ ผิด ! เพราะน้ำหนักจากเท้าอาจทำให้จานกดคลัทช์หนีห่างจากฟลายวีล ทำให้คลัทช์สึกหรอเร็วกว่าปกติ    



อุปกรณ์
 1. กระดาษทิชชู   2. ถุงมือ    
ขั้นตอนการตรวจเชคคลัทช์เบื้องต้นในรถเกียร์ธรรมดา
1. เปิดฝากระโปรง หากระปุกน้ำมันคลัทช์ ซึ่งจะมีขนาดเล็กกว่ากระปุกน้ำมันเบรค   2. ใช้ทิชชููเช็ดทำความสะอาด เชคน้ำมันคลัทช์ต้องใส และอยู่ในระดับ FULL เสมอ   3. ถ้าน้ำมันคลัทช์อยู่ในระดับปกติแล้ว ให้สตาร์ทเครื่องยนต์     4. เหยียบคันเร่งให้รอบเครื่องสูงประมาณ 4,000 รตน.  5. ใส่เกียร์สูงที่ประมาณเกียร์ 4     6. ถอดคลัทช์พร้อมกับเหยียบคันเร่ง โดยต้องทำให้สัมพันธ์กัน   7. ถ้าเครื่องดับทันทีแสดงว่าคลัทช์ดี ถ้ารอบตกแต่ไม่ดับทันทีแสดงว่าคลัทช์หมดแล้ว    8. ใส่เกียร์ว่าง แล้วดับเครื่องยนต์ เป็นอันเสร็จ  ปกติการใช้งานของ คลัทช์ นั้นจะมีอายุอยู่ที่ประมาณ  100,000 – 150,000 กม. หรือประมาณ 10 ปีขึ้นไป ก็ควรนำรถเข้าไป เช็คอาการ ของ คลัทช์  ได้แล้ว ก่อนที่อายุการใช้งานของ 
คลัทช์ นั้นจะหมด ซึ่งก็แน่นอนว่าอาการที่จะเกิดขึ้นหลังจากนี้ก็คือ คลัทช์ลื่น หรือ คลัทช์หมด แล้วเราเชื่อว่าหลายๆคนคงไม่รู้อย่างแน่นอนว่าถ้าเกิดอาการเหล่านี้จะเป็นอย่างไร เราจึงมี วิธีเช็คอาการเบื้องต้น มาบอกกัน


 
อาการของ คลัทช์ลื่น คือความเร็วของรถไม่ค่อยมีกำลัง หรือกำลังรถต่ำลง แต่รอบของเครื่องยนต์กลับสูงขึ้น ไม่มีกำลังในการขึ้นทางลาดชัน ซึ่งอาการที่จะตามมาหลังจากนี้ก็คือ ผ้าคลัทช์ด้าน หรือหวีคลัทช์ และฟลายวีลอาจจะไหม้ได้ ส่วนอาการคลัทช์หมด ก็เกิดจาก ผ้าคลัทช์ที่เริ่มบางลงหรือการสึกหรอมากขึ้นนั่นเอง อาการที่สังเกตุได้ก็คือ การเหยียบ คลัทช์ และการเข้าเกียร์จะยากกว่าปกติ แน่นอนว่าสิ่งที่ต้องทำหลังจากนี้ก็คือให้ช่างผู้ชำนาญเช็คอาการ และแก้ไขตามกำลังทรัพย์ของเรา ซึ่งก็มีทั้งเปลี่ยนและซ่อมในจุดที่เสียหายวิธีใช้งาน คลัทช์ เบื้องต้นที่ถูกต้องก็คือ ควรเหยียบ คลัทช์ ให้สุดทุกครั้งก่อนเปลี่ยนเกียร์, อย่าเหยียบ คลัทช์ พร่ำเพรื่อหรือเหยียบค้างโดยไม่จำเป็น, การตั้งพักเท้าไว้บนคลัทช์เป็นสิ่งที่ไม่ควรทำ เพราะบางทีน้ำหนักเท้าที่เราวางลงไปอาจทำให้คลัทช์ทำงานโดยไม่รู้ตัว  หลังจากที่ทีมงาน Lenso Wheels เคยนำเสนอความรู้ให้เพื่อนๆ ได้ชมกันไปแล้วก่อนหน้านี้ ในวันนี้ Lenso Wheels ก็มีอีกหนึ่งสาระดีๆ เกี่ยวกับคลัทช์ ที่ว่ากันด้วยเรื่องการบำรุงรักษา และวิเคราะห์เบื้องต้นว่า คลัทช์ที่เพื่อนๆ ใช้กันอยู่นั้น มีอาการชำรุดเสียหาย หรือจะต้องได้รับการบำรุงรักษาแล้วหรือยัง โดยรายละเอียดจะมีอะไรบ้างนั้น เราไปชมพร้อมๆ กันเลยครับ อย่าลืมครับว่า...ถึงเครื่องจะฟิตหรือจะดีขนาดไหน ถ้าคลัทช์เกิดพังขึ้นมาก็ไม่มีประโยชน์ เพราะฉะนั้น อย่าลืมหมั่นสังเกตอาการและบำรุงรักษาคลัทช์ของเพื่อนๆ ให้สมบูรณ์พร้อมใช้งานอยู่เสมอด้วยนะครับ โดยปัญหาของคลัทช์ที่เกิดขึ้นก็จะมีอยู่ 5 ปัญหาใหญ่ๆ นั่นก็คือ
 
คลัทช์รั่ว ซึ่งส่วนใหญ่ก็มักเกิดจากแม่ปั้มคลัทช์บน หรือล่าง ลูกยางรั่วซึม หรือสายอ่อนคลัทช์แตก ทำให้ไม่มีแรงดันน้ำมันไปกดชุดคลัทช์ ถ้าสังเกตเห็นอาการซึมๆ ของน้ำมันคลัทช์ตามกระบอกคลัทช์บนหรือล่างเมื่อไหร่ สายอ่อนคลัทช์เกิดอาการร้าว หรือน้ำมันคลัทช์เริ่มลดลง อย่าเติมน้ำมันคลัทช์เพิ่ม แต่ให้เช็คดูหารอยรั่ว และรีบแก้ไขให้เร็วที่สุดนะครับ
คลัทช์ลื่น มักเกิดจาการขับขี่ที่รุนแรง หรือเครื่องยนต์รับภาระหนัก ซึ่งการขับขี่รุนแรง หรือขึ้นเขา และการตั้งคลัทช์ไม่เหมาะสมจนคลัทช์เกิดอาการยัน ก็จะทำให้เกิดอาการลื่น ซึ่งผ้าครัชที่ลื่นก็จะเกิดอาการไหม้ขึ้นมาได้จนทำให้ผ้าคลัทช์อาจด้าน หวีและฟลายวิลเกิดรอยไหม้ คราวนี้ล่ะครับ คลัทช์จะเกิดอาการลื่นตลอด ซึ่งวิธีการแก้ไขก็คือ เปลี่ยนผ้าครัชและหวีครัชใหม่, เจียรฟลายวิล หรือหาชุดครัชแต่งให้เหมาะสมกับกำลังเครื่องยนต์ ซึ่งทางที่ดี ก็ควรรื้อออกมาดูว่าอะไรเสียหายบ้าง แล้วค่อยหาวิธีแก้ไขอีกทีครับ
คลัทช์สั่น มักเกิดจากความไม่เรียบสม่ำเสมอของผ้าคลัทช์ หวีคลัทช์ และฟลายวิล หรือผ้าคลัทช์แต่งแบบเป็นก้อนๆ จะทำให้การออกตัวของรถสั่นๆ กระตุก ต้องทำการเปลี่ยนผ้าครัทช์ เจียรหน้าฟลายวิลใหม่ เปลี่ยนหวีคลัทช์ หรือเอาหวีคลัทช์ไปเจียรใหม่ ซึ่งก็ต้องรื้ออกมาดู และแก้ไขตามอาการที่เกิดขึ้นครับ



คลัทช์แตก มักเกิดจากการขับขี่ที่รุนแรง โครงผ้าคลัทช์ไม่ดี ไม่เหมาะกับกำลังเครื่องยนต์ สปริงจานคลัทช์เกิดอาการหดตัว จนเฟืองกลางผ้าครัชให้ตัวมากเกินไป ผ้าคลัทช์ที่ย้ำด้วยหมุดแตกออก หรือคลัทช์แตกนั่นเอง จะทำให้รถเข้าเกียรไม่ได้ ต้องทำการเปลี่ยนผ้าครัทช์ใหม่ให้เหมาะกับการใช้งาน และกำลังของเครื่องยนต์
น้ำมันคลัทช์ เป็นส่วนหนึ่งที่ต้องดูแลเปลี่ยนถ่ายบ้าง เพราะการใช้งานที่ยาวนานจะทำให้น้ำมันสกปรก มีน้ำผสมอยู่ เศษลูกยางปั้มคลัทช์ปะปนอยู่ จะทำให้การสึกหรอในปั้มคลัทช์เร็วขึ้น ลูกยางปั้มคลัทช์เสื่อมเร็ว ซึ่งก็ต้องมีการเปลี่ยนถ่ายดูแลรักษาบ้างนานๆ ครั้ง ซึ่งการเลือกใช้ ต้องเลือกน้ำมันคลัทช์ให้ถูกต้องตามข้อกำหนดในการผลิตลูกยางในปั้มครัทช์ เช่น ปั้มครัชกำหนดว่าต้องใส่น้ำมัน DOT 3 แต่ดันเอาน้ำมัน DOT 4 – 5 มาใส่ ก็จะทำให้ลูกยางจะบวมและชำรุดเร็วขึ้นนั่นเองครับ เป็นอย่างไรกันบ้างครับกับสาระดีๆ ในการดูแลรักษาคลัทช์ของรถยนต์ที่เรารัก อย่าลืมนะครับ หมั่นตรวจเช็คและสังเกตอยู่เสมอ เพราะว่า...ไม่ว่าเครื่องยนต์ เพลาขับ หรืออะไหล่ต่างๆ ของรถจะดีขนาดไหน ถ้าคลัทช์เกิดเป็นอะไรขึ้นมา ก็อาจจะต้องนั่งรอรถสไลด์ก็เป็นได้ครับ และในครั้งหน้าทีมงาน Lenso Wheels จะมีสาระดีๆ อะไรมาฝากกันอีกนั้น ต้องติดตามกันนะครับ สำหรับวันนี้คงต้องลากันไปก่อน3 อาการหลัก ที่ให้สันนิษฐานว่าคลัตช์รถของคุณกำลังมีปัญหา
 
1. คลัทช์ลื่น นี่เป็นอาการเริ่มต้นที่คุณควรจะสนใจ และมันเป็นลางร้ายที่บอกคุณก่อนที่คลัทช์ของคุณจะหมด อาการคลัทช์ลื่นนั้น สามารถเกิดขึ้นได้ ใน 2 กรณี คือ 1. คลัทช์ใกล้หมด ซึ่งมีสาเหตุใหญ่มาจากผ้าคลัทช์ที่เริ่มบาง และ  2. เครื่องมีกำลังเกินกว่าที่คลัทช์ จะรับได้ ซึ่งมักจะพบในรถยนต์กลุ่มที่มีการโมดิฟายเครื่องยนต์เท่านั้น  ซึ่งหากรถคุณไม่ได้โมดิฟายเครื่องยนต์   แน่นอนว่า นี่เป็นสาเหตุของอาการคลัทช์ใกล้หมดที่เริ่มบ่งชี้อาการว่า รถของคุณกำลังไม่ปกติ
 
2. ความเร็วลดลงในรอบเครื่องเท่าเดิม บางครั้งในรถยนต์บางรุ่น คุณอาจไม่พบอาการคลัทช์ลื่นก็เป็นไปได้ และ นี่อาจเป็นอาการอย่างที่ 2    โดยเฉพาะ ในรถยนต์เกียร์อัตโนมัติ  ที่ยากมากที่คุณจะสังเกตอาการคลัทช์ลื่น บางครั้งถ้าคุณพบว่า ที่ความเร็วเท่าเดิม แต่ใช้รอบเครื่องสูงขึ้นกว่าเดิม หรือรอบเครื่องเท่าเดิม แต่ได้ความเร็วต่ำกว่าที่เคยทำได้ นั่นก็เป็นอาการหนึ่งของคลัทช์ลื่นที่ช่วยเตือนคุณก่อนคลัทช์จะหมดเช่นกัน
 
3. ขึ้นเนินชันได้ช้ากว่าปกติ บางครั้งทั้ง 2 อาการขั้นต้นที่กล่าวไป   คุณอาจจะยังไม่พบอาการ แต่ถ้าคุณสามารถสังเกตได้ว่า รถเริ่มไต่เนินได้ช้า หรือต้องลดจังหวะเกียร์เพื่อขึ้นเนิน   ทั้งๆ ที่เมื่อก่อนไม่จำเป็นนั้น นี่เป็นอาการเริ่มต้นของอาการคลัทช์บาง  ที่เป็นต้นเหตุอาหารคลัทช์หมด เช่นกันครับ



car-finances ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ราคาถูก  รับประกันคุณภาพทั่วจังหวัด
รับซ่อมแซม ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ทุกรูปแบบ ศูนย์รวมสินค้าช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ โดยทีมช่างมืออาชีพประสบการณ์สูง ออกแบบให้คำแนะนำ ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ เหตุผลในการจ้างช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่มืออาชีพเท่านั้น ประหยัดค่าใช้จ่าย ความปลอดภัย ประสบการณ์ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ดูแล ซ่อมแซม ประเมินราคา ตามงบประมาณ รับประกันงานติดตั้ง ทุกพื้นที่ ทั่วจังหวัด ในราคาถูกที่เป็นกันเอง
 
รู้จักเรา car-finances ร้านช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่
- ทีมช่างมีประสบการณ์ตรงด้านช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ มากกว่า 20 ปี
- เดินทางวัดหน้างานฟรีทั่วจังหวัด เพื่อให้ลูกค้าได้รับ งานที่ตรงความต้องการก่อนตัดสินใจ
- รับซ่อมแซมงานช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ทุกชนิด
- ใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีคุณภาพสูง มีความแข็งแรง ทนทาน
- ราคาถูก รับประกันคุณภาพ พร้อมการบริการหลังการขาย
- บริการคุณภาพด้วย car-finances ร้านช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่
พร้อมรับงานทุกขนาด งานบ้านทั่วไป งานโครงการ งานรับเหมา และอื่นๆ สนใจติดตั้งรางน้ำฝน ต้องที่ car-finances ร้านช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่เท่านั้น
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ศรีนครินทร์
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ชุมพล
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ บ้านนา
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ลำสินธุ์
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ อ่างทอง
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ กงหรา
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ กงหรา
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ คลองทรายขาว
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ คลองเฉลิม
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ชะรัด
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ สมหวัง
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ควนขนุน
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ควนขนุน
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ชะมวง
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ดอนทราย
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ทะเลน้อย
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ นาขยาด
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ปันแต
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ พนมวังก์
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ พนางตุง
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ มะกอกเหนือ
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ แพรกหา
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ แหลมโตนด
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ โตนดด้วน
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ตะโหมด
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ คลองใหญ่
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ตะโหมด
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ แม่ขรี
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ บางแก้ว
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ท่ามะเดื่อ
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ นาปะขอ
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ โคกสัก
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ปากพะยูน
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ดอนทราย
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ดอนประดู่
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ปากพะยูน
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ฝาละมี
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ หารเทา
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ เกาะนางคำ
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ เกาะหมาก
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ป่าบอน
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ทุ่งนารี
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ป่าบอน
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ วังใหม่
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ หนองธง
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ โคกทราย
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ป่าพะยอม
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ บ้านพร้าว
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ป่าพะยอม
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ลานข่อย
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ เกาะเต่า
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ศรีบรรพต
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ตะแพน
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ เขาปู่
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ เขาย่า
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ เขาชัยสน
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ควนขนุน
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ จองถนน
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ หานโพธิ์
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ เขาชัยสน
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ โคกม่วง
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ เมือง
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ควนมะพร้าว
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ คูหาสวรรค์
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ชัยบุรี
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ตำนาน
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ท่ามิหรำ
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ท่าแค
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ นาท่อม
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ นาโหนด
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ปรางหมู่
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ พญาขัน
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ร่มเมือง
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ ลำปำ
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ เขาเจียก
ช่างซ่อมรถยนต์นอกสถานที่ โคกชะงาย
Engine by shopup.com