เช่าเครื่องปั่นไฟ รัตนาธิเบศร์

หมวดหมู่สินค้า: เช่าเครื่องปั่นไฟ
STD Serve เช่าเครื่องปั่นไฟ ราคาถูก รับประกันคุณภาพทั่วจังหวัด เช่าเครื่องปั่นไฟ บริการเช่าเครื่องปั่นไฟ ภายนอก ภายใน ทุกรูปแบบ ทุกขนาด โดยทีมวิศวกรและช่างมืออาชีพประสบการณ์สูง ให้คำแนะนำ บริการเช่าเครื่องปั่นไฟ เช่าเครื่องปั่นไฟ แบบครบวงจร บริการเครื่องปั่นไฟ ราคากันเอง เครื่องกำเนิดไฟฟ้า เครื่องปั่นไฟ ให้เช่า หาเครื่องปั่นไฟ บริการเช่าเครื่องปั่นไฟ เครื่อง ปั่น ไฟฟ้าขนาดเล็ก จำหน่ายให้เช่าเครื่องกำเนิดไฟฟ้า รวมถึงดูแล ซ่อมแซม ประเมินราคา ตามงบประมาณ รับประกันงานติดตั้ง ทุกพื้นที่ ทั่วจังหวัด ทั่วประเทศ ในราคาถูกที่เป็นกันเอง

17 กรกฎาคม 2566

ผู้ชม 22 ผู้ชม

เช่าเครื่องปั่นไฟ  รัตนาธิเบศร์

11 ข้อควรรู้ ก่อนการใช้งานเครื่องปั่นไฟ
 
1.ขั้นตอนแรกในการเริ่มใช้งานเครื่องปั่นไฟทุกครั้ง คุณจะต้องมีการศึกษาคู่มือการใช้งานของเครื่องปั่นไฟโดยละเอียด และจะต้องมีการตรวจสอบสวิตซ์ไฟและอุปกรณ์ต่างๆให้มีสภาพพร้อมใช้งานอยู่เสมอ รวมถึงศึกษาตำแหน่งวาล์ว การเปิดและปิดเครื่องปั่นไฟ เพื่อที่จะสามารถควบคุมเครื่องปั่นไฟได้อย่างแม่นยำ โดยสามารถใช้หลักการได้กับทั้งเครื่องปั่นไฟระบบ Manual และระบบ Automatic อีกด้วย เช่าเครื่องปั่นไฟ


 
2.มีความเข้าใจในระบบพื้นฐานของน้ำมันเชื้อเพลิงในเครื่องปั่นไฟ โดยจะต้องมีการตรวจสอบระบบน้ำมันเชื้อเพลิงในเครื่องปั่นไฟทุกครั้งก่อนการใช้งาน และน้ำมันเชื้อเพลิงจะต้องมีสภาพใหม่ เพื่อการใช้งานเครื่องปั่นไฟที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด
 
3.ตรวจสอบระบบน้ำมันหล่อลื่นของเครื่องปั่นไฟทุกครั้งก่อนการใช้งาน โดยจะต้องมีระดับของน้ำมันหล่อลื่นที่สมดุล,ได้มาตรฐาน เพื่อการใช้งานที่ลื่นไหลและมีประสิทธิภาพมากที่สุด
 
4.ตรวจสอบระดับ “น้ำกลั่น” ในหม้อน้ำรังผึ้งของเครื่องปั่นไฟ โดยน้ำกลั่นจะต้องเต็มถัง ฝาหม้อปิดน้ำและสายยางท่อน้ำต้องอยู่ในสภาพดี
 
5.ตรวจสอบระดับประจุของแบตเตอรี่ในเครื่องปั่นไฟทุกครั้งก่อนการเริ่มใช้งาน โดยประจุจะต้องเต็ม เพื่อประสิทธิภาพอันสูงสุดของเครื่องปั่นไฟ
 
6.ตรวจสอบขั้วสายไฟ และสายไฟทุกครั้ง โดยจะต้องอยู่ในสภาพดี, ไม่ชำรุด
 
7.ตรวจสอบการรั่วซึมของระบบของเหลวทุกอย่างในตัวเครื่องปั่นไฟ ทั้งน้ำมันหล่อลื่น, น้ำกลั่น, น้ำมันเครื่องยนต์ ฯลฯ หากพบการรั่วซึมจะต้องได้รับการแก้ไขจากช่างผู้ชำนาญการเท่านั้น
 
8.ตรวจสอบระบบสายพานของเครื่องปั่นไฟ โดยสายพานจะต้องอยู่ในระดับมาตรฐาน ซึ่งระดับพูเล่ของ
ใบพัดกับพูเล่ของไดชาร์ตจะต้องมีน้ำหนักการกดประมาณ 10 กิโลกรัม และตั้งความตึงให้อยู่ระหว่าง 11 ถึง 13 มิลลิเมตร


 
9.ตรวจสอบระบบการระบายอากาศของเครื่องปั่นไฟ โดยใบพัดของระบบระบายอากาศจะต้องอยู่ในสภาพดี ไม่ชำรุดเสียหาย
 
10.ทดสอบการเดินเครื่องของเครื่องปั่นไฟ โดยจะต้องมีการเดินเครื่องที่ราบรื่น ไม่มีอาการกระตุกหรืออาการวูบของเครื่องปั่นไฟเกิดขึ้น
 
11.ตรวจวัดระดับอุณหภูมิภายในเครื่องปั่นไฟ โดยอุณหภูมิจะต้องอยู่ในระดับปกติ และอุณหภูมิของน้ำหล่อเย็นต้องไม่เกิน 94 องศาเซลเซียส
 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้า คืออะไร
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าหรือเครื่องปั่นไฟ (Generator Set) เป็นอีกรูปแบบหนึ่งของระบบสำรองไฟที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยที่หลักการของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า คือ “การเปลี่ยนแปลงพลังงานกลมาเป็นพลังงานไฟ้า” โดยอาศัยการเหนี่ยวนำของแม่เหล็กตามหลักการของ ไมเคิล ฟาราเดย์ ที่ว่า การเคลื่อนที่ของขดลวดตัวนำผ่านสนามแม่เหล็กหรือการเคลื่อนที่แม่เหล็กผ่านขดลวดตัวนำจะทำให้เกิดแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนำขึ้นในขดลวดตัวนำนั้น
 
ซึ่งเครื่องกำเนิดไฟฟ้ามี 2 ชนิด คือ ชนิดกระแสตรงเรียกว่า ไดนาโม (Dynamo) และชนิดกระแสสลับเรียกว่า อัลเตอร์เนเตอร์ (Alternator)
 
สำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่ใช้งานในเชิงอุตสาหกรรมนั้น โดยมากจะเป็นเครื่องกำเนิดไฟฟ้าชนิดกระแสสลับ ซึ่งมีทั้งแบบ 1 เฟส และแบบ 3 เฟส ซึ่งจะมีทั้งแบบขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์เบนซินและเครื่องยนต์ดีเซล โดยที่เครื่องกำเนิดไฟฟ้าประกอบไปด้วยอุปกรณ์หลักๆ คือ เครื่องยนต์ (Engine) ไดร์ปั่นไฟ (Alternator) และชุดควบคุม (Controller)
 
ซึ่งทุกส่วนจะถูกนำมาประกอบร่วมเป็นชุดเดียวกัน โดยที่จะมีชุดควบคุมเป็นตัวสั่งการเครื่องกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์สำหรับเลือกแหล่งจ่ายไฟหรือที่เรียกว่า ATS (Automatic Transfer Switch) ว่าจะให้สับไปรับไฟจากส่วนไหน ระหว่างหม้อแปลงการไฟฟ้าและเครื่องกำเนิดไฟฟ้านั่นเอง
 
จากบทความเราจะได้ทราบแล้วว่าเครื่องกำเนิดไฟฟ้าจะทำงานด้วยการเปลี่ยนพลังงานกลมาเป็นพลังงานไฟฟ้า จึงเกิดกระแสไฟขึ้นมา ภายในเครื่องกำเนิดไฟฟ้าจะมีอุปกรณ์หลักอยู่ 3 อย่างคือ เครื่องยนต์ ไดร์ปั่นไฟ และชุดควบคุม ซึ่งในบทต่อไปเราจะมาดูกันว่าในชุดควบคุมหรือคอนโทรลเลอร์นั้นมีอุปกรณ์อะไรบ้าง


 
การดูแลเครื่องปั่นไฟ
 
เพื่อให้การทำงานของเครื่องปั่นไฟมีประสิทธิภาพมากที่สุดแล้ว วิธีการบำรุงรักษาเครื่องปั่นไฟอย่างถูกวิธี จึงมีความสำคัญไม่น้อยเลยทีเดียว ที่จะทำให้เครื่องปั่นไฟของคุณมีอายุการใช้งานที่ยืนยาวและคุ้มค่ามากที่สุด
 
1. ก่อนการตรวจสอบและดูแลรักษาเครื่องปั่นไฟของคุณทุกครั้ง คุณจะต้องทำการปิดสวิตซ์ไฟและปิดระบบการจ่ายไฟของเครื่องปั่นไฟก่อนเสมอ เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุจากเครื่องยนต์ ซึ่งอาจจะทำให้เครื่องยนต์สตาร์ทติดเองขณะทำการตรวจเช็คได้
 
2. ในทุกการใช้งานตลอดระยะเวลา 20 ชั่วโมงของการใช้งานเครื่องปั่นไฟคุณจะต้องตรวจสอบและดูแลรักษาเครื่องปั่นไฟ ดังนี้
- ตรวจสอบระดับน้ำมันหล่อลื่นของเครื่องยนต์ โดยระดับน้ำมันหล่อลื่นของเครื่องปั่นไฟที่เหลือ จะต้องไม่มีตะกอนหรือคราบดำปรากฏให้เห็น และจะต้องเปลี่ยนน้ำมันเครื่องยนต์ทุกครั้งก่อนการใช้งาน เพื่อเป็นการบำรุงรักษาสภาพเครื่องยนต์ภายในให้มีสภาพดีอยู่เสมอ
- ทำความสะอาดหม้อน้ำกลั่นในเครื่องปั่นไฟ โดยการใช้ผ้าแห้งเช็ด และทำการตรวจสอบสภาพน้ำกลั่น ซึ่งจะต้องมีความใสบริสุทธิ์ ไม่มีตะกอนหรือเปลี่ยนสี
- หลังจากการใช้งานทุกครั้ง ในบริเวณสายไฟหรือขั้วต่อในเครื่องปั่นไฟ จะต้องทำการหมุนขั้วสายไฟให้แน่น และใช้ผ้าแห้งเช็ดทำความสะอาดอยู่เสมอ
- สายพานของเครื่องปั่นไฟ ควรใส่น้ำมันหล่อลื่นทุกครั้งหลังการใช้งาน และควรเปลี่ยนสายยางทันทีหากสายยางชำรุดเสียหาย


 
3. ในส่วนของหม้อน้ำรังผึ้งด้านนอกของเครื่องปั่นไฟหลังจากการใช้งาน ให้ใช้ผ้าชุบน้ำหมาดๆเช็ดทำความสะอาดทุกครั้ง เพื่อเป็นการลดอุณหภูมิและป้องกันฝุ่นละออง
 
4. ในทุก ๆ 3 เดือน หรือการใช้งาน 250 ชั่วโมง จะต้องมีวิธีการดูแลรักษาเครื่องปั่นไฟ ดังนี้
- ทำการถ่ายน้ำมันหล่อลื่นของเครื่องปั่นไฟ
- เปลี่ยนไส้กรองของน้ำมันหล่อลื่นในเครื่องปั่นไฟ
- ตรวจสอบท่อสายยางและเหล็กรัดท่อในเครื่องปั่นไฟหากชำรุดให้ทำการเปลี่ยนทันที
- ตรวจสอบสภาพน๊อตของเครื่องปั่นไฟให้หนาแน่นอยู่เสมอ หากชำรุดให้ทำการเปลี่ยนทันที
 
5. ในทุก ๆ 6 เดือน หรือการใช้งาน 500 ชั่วโมง จะต้องมีวิธีการดูแลรักษาเครื่องปั่นไฟ ดังนี้
- ทำการเปลี่ยนไส้กรองเชื้อเพลิงของเครื่องปั่นไฟ
- ทำการเปลี่ยนไส้กรองอากาศของเครื่องปั่นไฟ
 
ข้อควรระวังในการใช้งานเครื่องปั่นไฟ
- ก่อนจะตรวจเช็คอุปกรณ์ใด ๆ ของเครื่องปั่นไฟ ถ้าระบบของเครื่องปั่นไฟเป็นแบบจ่ายกระแสอัตโนมัติ ให้ปรับไปที่ตําแหน่ง OFF หรือปลดขั้วสายแบตเตอรี่ออกเสียก่อน เพื่อป้องกนการเกิดอุบัติเหตุจากเครื่องยนต์สตาร์ทเองขณะทําการตรวจเช็ค
- ห้ามเปิดฝาหม้อน้ำในขณะที่เครื่องยนต์ยังร้อนอยู่
- ไม่จ่ายกระแสเกินกำลังของเครื่องปั่นไฟ
- ไม่ควรปรับอุปกรณ์ใดๆ ขณะจ่ายกระแสไฟฟ้า ถ้ามีความผิดปกติใด ๆ ให้งดจ่าย Load แล้วจึงทำการแก้ไข
- ไม่ควรทิ้งเครื่องยนต์โดยไม่มีผู้ดูแลขณะเครื่องกำลังทำงานอยู่
- ไม่ควรเปิด-ปิดเบรกเกอร์สำหรับจ่าย Load บ่อย ๆ โดยไม่จำเป็น
- สถานที่ติดตั้งเครื่องปั่นไฟ ต้องมีการระบายอากาศเป็นอย่างดีและไม่ควรมีฝุ่นละออง ไม่เป็นสถานที่เก็บสารเคมีหรือวัตถุไวไฟอื่น ๆ นอกจากน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนต์เท่านั้น
- ขณะจ่าย Load ควรตรวจสอบกระแสไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้า ความถี่ทางไฟฟ้าอยู่เสมอ
- ขณะจ่าย Load ควรตรวจสอบแรงดันน้ำมันเครื่องและอุณหภูมิของเครื่องยนต์
- ในการติดตั้งเครื่องปั่นไฟ จำเป็นต้องเดินสายดินโดยต่อกับแท่งทองแดง หรือ Ground Rod ที่ฝังอยู่ใต้ดินตามมาตรฐานกำหนด ทั้งนี้ต้องต่อตัวเครื่องยนต์และตู้ควบคุม


 
rtds-events บริษัทเช่าเครื่องปั่นไฟ ราคาถูก รับประกันคุณภาพทั่วจังหวัด
เช่าเครื่องปั่นไฟ บริการเช่าเครื่องปั่นไฟ ภายนอก ภายใน ทุกรูปแบบ ทุกขนาด โดยทีมวิศวกรและช่างมืออาชีพประสบการณ์สูง ให้คำแนะนำ บริการเช่าเครื่องปั่นไฟ เช่าเครื่องปั่นไฟ แบบครบวงจร บริการเครื่องปั่นไฟ ราคากันเอง  เครื่องกำเนิดไฟฟ้า เครื่องปั่นไฟ ให้เช่า หาเครื่องปั่นไฟ บริการเช่าเครื่องปั่นไฟ เครื่อง ปั่น ไฟฟ้าขนาดเล็ก จำหน่ายให้เช่าเครื่องกำเนิดไฟฟ้า รวมถึงดูแล ซ่อมแซม ประเมินราคา ตามงบประมาณ รับประกันงานติดตั้ง ทุกพื้นที่ ทั่วจังหวัด ทั่วประเทศ ในราคาถูกที่เป็นกันเอง
 
รู้จักเรา rtds-events บริษัทเช่าเครื่องปั่นไฟ
- ทีมช่างมีประสบการณ์ตรง ด้านร้านทำป้าย มากกว่า 20 ปี
- เดินทางวัดหน้างานสำรวจเบื้องต้นฟรีทั่วจังหวัดเพื่อให้ลูกค้าได้รับ งานที่ตรงความต้องการก่อนตัดสินใจ
- บริการเครื่องปั่นไฟ ราคากันเอง  เครื่องกำเนิดไฟฟ้า  ทุกชนิด ทุกขนาด เล็ก-ใหญ่ ทั่วประเทศ ในราคาถูกที่เป็นกันเอง
- ใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีคุณภาพสูง มีความแข็งแรง ทนทาน
- ราคาถูก รับประกันคุณภาพ พร้อมการบริการหลังการขาย
- บริการคุณภาพด้วย rtds-events บริษัทเช่าเครื่องปั่นไฟ
พร้อมรับงานทุกขนาด งานบ้านทั่วไป งานโครงการ งานรับเหมา และอื่นๆ สนใจทำความสะอาด ตึก บ้าน อาคาร อื่นๆ ต้องที่ STD Serve บริษัทเช่าเครื่องปั่นไฟ เท่านั้น
เช่าเครื่องปั่นไฟ ถนนรัตนาธิเบศร์
Engine by shopup.com